ลูกประคบสมุนไพร | Pattaya City Hospital | โรงพยาบาลเมืองพัทยา เราพร้อมดูแลคุณ

Health Article

บทความเรื่องสุขภาพ

ลูกประคบสมุนไพร

Date : 21 November 2016

ข้อมูลจาก : ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาพจาก : .fasicare.com

ลูกประคบสมุนไพร เป็นผลิตภัณฑ์ทีเกิดจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดยนําพืชสมุนไพรทีมีอยู่ในท้องถินมาใช้ในการรักษาหรือช่วยในการไหลเวียนของโลหิต ทําให้กล้ามเนือผ่อนคลาย ได้จากการนําสมุนไพรหลายชนิดมาผ่านกระบวนการทําความสะอาดแล้วนํามาหันหรือสับให้เป็นชินตามขนาดทีต้องการ ตําพอแตก

อาจใช้สมุนไพรสดหรือทําให้แห้งก่อนนํามาบรรจุรวมกันในผ้าให้ได้รูปทรงต่างๆ เช่น หมอนสําหรับใช้นาบหรือทรงกลมสําหรับกดประคบส่วนต่างๆ ของร่างกาย ถ้าเป็นลูกประคบสมุนไพรแห้ง ก่อนใช้ต้องนํามาพรมนําแล้วทําให้ร้อนโดยการนึง

ประโยชน์ของการประคบสมุนไพร (จากตัวยาสมุนไพรและความร้อน)

      1. กระตุ้นหรือเพิมการไหลเวียนของโลหิต

      2. ลดอาการเกร็งของกล้ามเนือและบรรเทาอาการปวดเมือย

      3. ลดการติดขัดของข้อต่อบริเวณทีประคบและทําให้เนือเยือพังผืดยืดตัวออก

      4. ลดอาการบวมทีเกิดจากการอักเสบของกล้ามเนือหรือบริเวณข้อต่อต่างๆ หลังจาก 24 - 48 ชม.ไปแล้ว

      5. ช่วยให้รู้สึกสดชืน ผ่อนคลายจากกลินของนํามันหอมระเหย

ตัวยาทีนิยมใช้ทําลูกประคบ

- ไพล (500 ก.) แก้ปวดเมือย เคล็ด ขัดยอก ลดการอักเสบ

- ขมินชัน (100 ก.) ช่วยลดอาการอักเสบ แก้โรคผิวหนัง

- ขมินอ้อย (100 ก.) ช่วยลดอาการอักเสบ แก้โรคผิวหนัง

- ตะไคร้บ้าน (200 ก.) แต่งกลิน

- ผลมะกรูด (100 ก.) ผิวมะกรูดมีนํามันหอมระเหย แก้ลมวิงเวียน ส่วนนําในผลแก้คันตามร่างกาย ถ้าไม่มีใช้ใบแทนได้ ซึงมีนํามันหอมระเหย แก้ลมวิงเวียนเช่นกัน

- ข่า (100 ก.) ช่วยรักษาโรคผิวหนัง กลากเกลือน

- เกลือ (60 ก.) ช่วยดูดความร้อนและช่วยพาตัวยาซึมผ่านผิวหนังได้สะดวกขึน

- การบูร (30 ก.) แต่งกลิน บํารุงหัวใจ

- พิมเสน (30 ก.) แต่งกลิน บํารุงหัวใจ

อุปกรณ์การทําลูกประคบสมุนไพร

1.    ผ้าสําหรับห่อลูกประคบ ต้องเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบทีมีเนือผ้าแน่นพอทีจะป้องกันไม่ให้สมุนไพรร่วงออกมาได้

2. สมุนไพรทีใช้ทําลูกประคบต้องหันหรือสับเป็นชินเล็กๆ อาจใช้สมุนไพรสดหรือแห้งก็ได้ แต่ต้องไม่มีรา ปรากฏให้เห็น และต้องมีพืชสมุนไพรหลักดังนี

- กลุ่มทีมีนํามันหอมระเหยอย่างน้อย 3 ชนิด เช่น ไพล ขมินชัน ตะไคร้ และมะกรูด

- กลุ่มสมุนไพรทีมีรสเปรียวมีฤทธิเป็นกรดอ่อนๆ เช่น ใบมะขาม ใบส้มป่อย

- กลุ่มสารทีมีกลินหอม จะระเหยออกมาเมือถูกความร้อน เช่น การบูร พิมเสน และเกลือ ช่วยดูดความร้อน

3. หม้อสําหรับนึงลูกประคบและจานรองลูกประคบ

4. เชือกสําหรับมัดผ้าห่อลูกประคบ

วิธีทําลูกประคบ

1.   นําหัวไพล ขมินชัน ขมินอ้อย ข่า ตะไคร้ และมะกรูด ล้างทําความสะอาด นํามาหันหรือสับให้เป็นชินตามขนาดทีต้องการ ตําพอหยาบๆ

2. ใส่เกลือ การบูร และพิมเสน คลุกเคล้าให้เข้าเป็นเนือเดียวกัน แต่อย่าให้แฉะเป็นนํา

3. แบ่งสมุนไพรทีคลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วเป็นส่วนๆ เท่ากัน ใช้ผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบห่อเป็นลูกประคบมัดด้วยเชือกให้แน่น

4. นําลูกประคบทีได้ไปนึงประมาณ 15 - 20 นาที

วิธีการใช้ลูกประคบสมุนไพร

นําลูกประคบทีได้ไปนึงประมาณ 15 - 20 นาที เมือลูกประคบร้อนได้ทีแล้ว ก่อนนํามาใช้ประคบควรมีการทดสอบความร้อนโดยแตะทีท้องแขนหรือหลังมือก่อน และในช่วงแรกทีลูกประคบยังร้อนอยู่ ต้องประคบด้วยความเร็ว ไม่วางลูกประคบไว้บนผิวหนังนานๆ เพียงแตะลูกประคบแล้วยกขึน แต่เมือลูกประคบคลายความร้อนลง สามารถวางลูกประคบได้นานขึนพร้อมกับกดคลึงจนกว่าลูกประคบคลายความร้อน แล้วจึงเปลียนลูกประคบลูกใหม่มาใช้แทน และนําลูกประคบทีเย็นแล้วกลับไปนึงเพือนํามาใช้ต่อไป

ข้อควรระวังในการประคบสมุนไพร

- ไม่ควรใช้ลูกประคบทีร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังทีเคยเป็นแผลมาก่อนหรือบริเวณทีมีกระดูกยืน และต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต ในเด็กและผู้สูงอายุ เพราะมักมีความรู้สึกในการรับรู้และตอบสนองช้า อาจทําให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย

- ไม่ควรใช้การประคบสมุนไพรในกรณีทีมีอาการอักเสบบวม แดง ร้อน ในช่วง 24 - 48 ชม.แรก เพราะจะทําให้อักเสบบวมมากขึนและอาจมีเลือดออกมากตามมาได้

- หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ๆ ไม่ควรอาบนําทันที เพราะจะไปล้างตัวยาจากผิวหนัง และร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน (ร้อนเป็นเย็นทันทีทันใด) อาจทําให้เกิดเป็นไข้ได้การเก็บลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพรทีใช้ครังหนึงแล้วสามารถเก็บไว้ได้นาน 3 - 5 วัน หลังจากใช้แล้วควรผึงลูกประคบให้แห้ง เก็บใส่ถุงหรือภาชนะปิดฝาให้แน่น แช่ตู้เย็นจะเก็บได้นานขึน ให้สังเกตถ้าลูกประคบมีเชือราปรากฏให้เห็นและมีกลินเหม็นเปรียว หรือสีเหลืองจางลง แสดงว่าตัวยาเสีย ไม่มีคุณภาพ ไม่ควรนํามาใช้อีกต่อไป เพราะจะใช้ไม่ได้ผล